ปรับแต่งการตั้งค่าการให้ความยินยอม

เราใช้คุกกี้เพื่อช่วยให้คุณสามารถไปยังส่วนต่าง ๆ ได้อย่างมีประสิทธิภาพและทำหน้าที่บางอย่าง คุณจะพบข้อมูลโดยละเอียดเกี่ยวกับคุกกี้ทั้งหมดภายใต้หมวดหมู่ความยินยอมแต่ละประเภทด้านล่าง คุกกี้ที่ได้รับการจัดหมวดหมู่ว่า "จำเป็น" จะถูกจัดเก็บไว้ในเบราว์เซอร์ของคุณ เนื่องจากมีความจำเป็นต่อการทำงานของฟังก์ชันพื้นฐานของเว็บไซต์... 

ใช้งานอยู่เสมอ

คุกกี้ที่จำเป็นมีความสำคัญต่อฟังก์ชันพื้นฐานของเว็บไซต์ และเว็บไซต์จะไม่สามารถทำงานได้ตามวัตถุประสงค์หากไม่มีคุกกี้เหล่านี้

คุกกี้เหล่านี้ไม่จัดเก็บข้อมูลที่สามารถระบุตัวบุคคลได้

ไม่มีคุกกี้ที่จะแสดง

คุกกี้แบบฟังก์ชันนอลช่วยทำหน้าที่บางอย่าง เช่น แบ่งปันเนื้อหาของเว็บไซต์บนแพลตฟอร์มโซเชียลมีเดีย รวบรวมความคิดเห็น และฟีเจอร์อื่นๆ ของบุคคลที่สาม

ไม่มีคุกกี้ที่จะแสดง

คุกกี้วิเคราะห์ใช้เพื่อทำความเข้าใจวิธีการที่ผู้เยี่ยมชมโต้ตอบกับเว็บไซต์ คุกกี้เหล่านี้ช่วยให้ข้อมูลเกี่ยวกับตัวชี้วัด เช่น จำนวนผู้เข้าชม อัตราตีกลับ แหล่งที่มาของการเข้าชม ฯลฯ

ไม่มีคุกกี้ที่จะแสดง

คุกกี้ประสิทธิภาพใช้เพื่อทำความเข้าใจและวิเคราะห์ดัชนีประสิทธิภาพหลักของเว็บไซต์ซึ่งจะช่วยให้สามารถมอบประสบการณ์การใช้งานที่ดีขึ้นแก่ผู้เยี่ยมชม

ไม่มีคุกกี้ที่จะแสดง

คุกกี้โฆษณาใช้เพื่อส่งโฆษณาที่ได้รับการปรับแต่งตามการเข้าชมก่อนหน้านี้ และวิเคราะห์ประสิทธิภาพของแคมเปญโฆษณา

ไม่มีคุกกี้ที่จะแสดง

Hybrid Computing ที่จะมาในปี 2025

สวัสดีครับ วันนี้จะขอพูดถึงเกี่ยวกับ Trends ที่ Gartner ได้วิเคราะห์ ให้ฟังของปี 2025 ที่จะถึง อีกอย่างหนึ่ง นั่นก็คือ การทำ Hybrid Computing  ครับ …   มันคืออะไร .. จริงๆ แล้ว ทุกวันนี้ หลายองค์กร ก็ใช้ทั้ง On-Premise และ On-Cloud แล้วแต่ความสะดวก บางองค์กร อาจไม่ต้องการ การ maintenance hardware ก็จะเอาขึ้นไปบน Cloud ทั้งหมด แต่บางองค์กร อาจมีความจำเป็นที่จะต้อง ใช้บางอย่างที่อยู่ใน ออฟฟิศ เพราะถ้านำขึ้นไปบน cloud แล้ว การใช้งานสูงก็จะทำให้เปลืองค่าใช้จ่าย ได้  อาทิเช่น การใช้ GPU ประมวลผลการทำ Machine Learning  บางหน่วยงานอาจเอาไว้ข้างล่าง แล้วทำการเชื่อม network ให้เข้ากับ Cloud เป็นต้น   โดยส่วนตัวผม ช่วงนี้ก็ยังเจอหลายบริษัท ที่เอาขึ้น cloud ไปแล้ว  พอไม่ตอบโจทย์ ก็มีการนำลงมาข้างล่าง จนกว่าจะจูนกันได้ เข้าที่ ครับ 

hybrid computing on prim

Hybrid Computing ก็จะเป็นการผสมผสานระหว่างการใช้ทรัพยากร computing จากหลายแหล่ง ไม่ว่าจะเป็นการใช้ทรัพยากร computing ภายในองค์กร (On-premises) และการใช้คลาวด์สาธารณะ (Public Cloud) เข้าด้วยกัน เพื่อให้ได้ประโยชน์สูงสุดจากการใช้ทรัพยากรเหล่านั้น โดยสามารถปรับตัวและขยายขนาดได้ตามความต้องการ ตัวอย่างที่นิยมใช้ใน Hybrid Computing ได้แก่:

  1. ประมวลผลและเก็บข้อมูลแบบไฮบริด – ใช้ทั้ง server ภายในองค์กรในการเก็บข้อมูลที่ต้องการความปลอดภัยสูง ในขณะที่ใช้ cloud เพื่อจัดเก็บข้อมูลที่ต้องการความยืดหยุ่นหรือข้อมูลที่เข้าถึงจากระยะไกลได้สะดวก
  2. ขยายทรัพยากรโดยใช้ cloud (Cloud Bursting) – หากการประมวลผลของระบบภายในไม่เพียงพอ ระบบสามารถขยายการประมวลผลไปยัง cloud ในช่วงที่มีความต้องการสูง เช่น ในช่วงที่มีผู้ใช้งานมากเป็นพิเศษ
  3. ความยืดหยุ่นในการพัฒนาและการทดสอบ – นักพัฒนาสามารถสร้างสภาพแวดล้อมการพัฒนาและการทดสอบใน cloud ได้อย่างรวดเร็วและประหยัดค่าใช้จ่าย และเมื่อต้องการใช้งานในระดับการผลิตก็สามารถย้ายกลับมาระบบภายในได้
  4. การควบคุมและการจัดการข้อมูลที่ดียิ่งขึ้น – Hybrid Computing ช่วยให้องค์กรสามารถควบคุมและจัดการการใช้ข้อมูลได้ดีขึ้น โดยเฉพาะข้อมูลที่สำคัญและข้อมูลที่ต้องการความปลอดภัยสูง เพราะสามารถกำหนดได้ว่าข้อมูลใดควรอยู่บนระบบภายในและข้อมูลใดสามารถเก็บในcloud ได้
  5. ประหยัดค่าใช้จ่าย – Hybrid Computing ช่วยลดค่าใช้จ่ายในการลงทุนทรัพยากรขององค์กรให้เพียงพอกับความต้องการสูงสุดตลอดเวลา โดยองค์กรสามารถเลือกใช้ cloud ในช่วงที่มีการใช้งานสูง และลดการใช้เมื่อความต้องการลดลง

ในปี 2025 นี้ หลายองค์กร จะมีการพัฒนา Hybrid Computing เป็นอย่างมาก ตามการวิเคราะห์ ของ Gartner ครับ  ติดตามบทความดีดี ได้จาก เว็บไซด์ yod.net และช่องทาง social ต่างๆ ได้เลยครับ

Yodying Xumsaeng https://www.yod.net

คุณ ยอดยิ่ง ชุมแสง ณ อยุธยา(อาจารย์ ยอด) ผู้ก่อตั้ง บริษัท สมาร์ทคลิ๊ก โซลูชั่น จำกัด เป็นผู้เชี่ยวชาญด้าน IT Infrastructure , Cloud Computing , Software Architecture , IOT และ Generative AI ปัจจุบันเป็นอาจารย์ สอน Software อยู่ที่สถาบันการศึกษาชั้นนำหลายแห่ง